หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๔)
ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าบทธัมมจักกัปปวัตนสูตรนั้นเป็นบทพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ หลังจากที่ตรัสรู้ได้เพียง ๒ เดือน ณ.....
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท
บัณฑิตรู้ข้อแตกต่าง ระหว่างความประมาทกับความไม่ประมาท จึงยินดีในความไม่ประมาท อันเป็นแนวทางของพระอริยะ
สรณะอันเกษม
มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง สรณะนั่นแลไม่เกษม สรณะนั่นไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม สรณะนั่นอุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
พระพาหิยทารุจิริยเถระ
กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละไปตามลำดับ บุคคลเมื่อเห็นมรณภัยแล้ว พึงละอามิสในโลกเสีย มุ่งสู่สันติเถิด”
เส้นทางสู่สันติ
กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละลำดับไป บุคคลเล็งเห็นภัยในมรณะนี้ พึงมุ่งต่อสันติ ละโลกามิสเสีย
135 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ฉายา จนฺทสโร หมายถึง ผู้นำแสงสว่างมาสู่โลก ประดุจพระจันทร์ส่องสว่างยามราตรี เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ว่า พระมงคลเทพมุนี ศรีรัตนปฏิบัติ สมาธิวัตรสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
สมปรารถนาได้ด้วยบุญ
ชีวิตถูกชรานำเข้าไปใกล้ความตาย ผู้ที่ถูกชรานำเข้าไปใกล้แล้ว ย่อมต้านทานไว้ไม่ได้ เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความตายนี้ ควรทำบุญอันจะนำความสุขมาให้
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง บัณฑิตทราบเนื้อความนั้นตามความจริงแล้ว พึงกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
สัญญาเวทยิตนิโรธ
อนุปุพพวิหาร คือธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ ๙ ประการ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และสัญญาเวทยิตนิโรธ นี้คืออนุปุพพวิหาร ๙ ประการนี้
เปรต ๑๒ ตระกูล (๒)
พระอรหันต์ทั้งหลายเปรียบด้วยนา ทายกทายิกาทั้งหลาย เปรียบด้วยชาวนา ไทยธรรมเปรียบด้วยพืช ผลทานย่อมเกิดแต่การบริจาคไทยธรรมแก่ปฏิคาหก พืชนาและการหว่านพืชนั้น ย่อมให้เกิดผลแก่ทายกและเปรตทั้งหลาย เปรตทั้งหลายย่อมบริโภคผล แห่งการอุทิศส่วนบุญนั้น ทายกย่อมเจริญด้วยบุญ ทายกทำกุศลในโลกนี้แล้ว อุทิศให้เปรตทั้งหลาย ครั้นทำกรรมดีแล้วย่อมไปสวรรค์